วันศุกร์ ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2568 14:46 น.

เศรษฐกิจ

2 บริษัทเอกชนจับมือบริหารจัดการนํ้าหนุนลงทุน ​EEC-AEC

วันพุธ ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2563, 13.15 น.

อินดัสเตรียลฯจับมือศรีเมฆฯร่วมบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า!ส่งเสริม​การลงทุนฯอุตสาหกรรม​ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก​EEC-AECสาธารณูปโภค-ประชาชน

นายธนวัฒน์​ สันตินรนนท์​ กรรมการ​ผู้มีอำนาจ​ บริษัท​ อินดัสเตรียล​ วอเตอร์​ รีซอร์ส​ แมนเนจเมนท์​ จำกัด​ ผู้ครํ่าหวอดวงการสัมปทานนํ้าฝั่งตะวันออกมาอย่างยาวนาน​ และ​ นายมารุต ศรีวรรณบุตร​ กรรมการผู้มีอำนาจ​ บริษัท​ ศรีเมฆ​ คอร์เปอร์เรชั่น​ จำกัด​ ผู้บุกเบิกวงการถังประกอบของไทยที่มีชื่อเสียงด้านผลิตภัณฑ์​ผลิตภาพคุณภาพมาเป็นอย่างที่แพร่หลาย​ ได้ลงนามคววามร่วมมือทางธุรกิจ​ระหว่างของทั้ง​ 2​ องค์กรภาคเอกชน​  ณ.สถานีเพิ่มแรงดันนํ้าเพื่อการอุตสาหกรรมบางปะกง​ ที่อำเภอพานทอง​ จังหวัดชลบุรี​

การลงนามสัญญาความร่วมมือในครั้งนี้เป็นจุดเริ่มต้น​ของการปฏิวัต​ิ​ การให้บริการแบบครบวงจร​ ด้านการบริหาร​จัดการ​ระบบนํ้าของภาคอุตสาหกรรม​ทั่วประเทศ​ หนึ่งของระบบสาธารณูปโภค​ที่ต้อง​ใช้​ผู้เชี่ยวชาญ​ ผู้มีประสบการณ์​มาเป็นผู้ดูแล​ เพื่อเป็นการพัฒนาบริหาร​จัดการ​ระบบ​นํ้า​พัฒนาอย่าง​ยั่งยืน​ส่งเสริมให้แก่​ ภาคอุตสาหกรรม​ การลงทุน​ เศรษฐกิจ​ สังคม​ สิ่งแวดล้อม​และประชาชน ด้านสาธารณูปโภค​ ชลประทาน​ สู่การพัฒนาบริหารจัดการ​นํ้าสู่​ ภาคอุตสาหกรรม​ ภาคสังคม​ ภาคประชาชน เขตระเบียง​เศรษฐกิจ​ภาคตะวันออก​(EEC)​ของไทย และ​พัฒนาก้าวไกลสู่​ เขตเศรษฐกิจ​อาเซียน​(AEC)

ทั้งนี้ในด้านการชลประทาน​ทรัพยากรนํ้า​ สู่ภาคอุตสาหกรรม​ เศรษฐกิจ​และสังคม​ ประชาชน​ ทั้ง2หน่วยองค์กร​เอกชนจัดอยู่เป็นบริษัทเอกชน​แรกๆ(ReaderShip)​ที่บุกเบิกการจัดสร้างสถานีแรงดันนํ้า​ส่งนํ้า​ สร้างจุดพักนํ้า​ สำรวจภูมิิศาสตร์​ ภูมิประเทศแหล่งทรัพยากรนํ้า​ จัดสร้างหลักแหล่งที่พักกักเก็บนํ้าและจำหน่ายส่งนํ้า​ ด้านสาธารณูปโภค​ เพื่ออุปโภคและบริโภค เช่น, อำเภอพานทอง​ อำเภอบ้านบึง​ อำเภอพนัสนิคม​และอำเภอเมือง​ จังหวัดชลบุรี สู่ภาคอุตสาหกรรม​ นิคมอุตสาหกรรม​ อมตะนคร

ส่วนในปี2562ได้มีปัญหา​ภัยแล้งได้รับการทาบทามไปในการบริหารจัดการนํ้า​ สาธารณูปโภค​ เพื่ออุปโภคและบริโภค​ และเป็นการส่งเสริม​เศรษฐกิจ​ การลงทุน​ อุตสาหกรรม​ สังคมและสิ่งแวดล้อม​ ประชาชน​ นิคมอุตสาหกรรม​ อำเ​ภ​อ​บางคล้า​และอำเภออื่นๆรวมถึง​ นิคมอุตสาหกรรม​เวิร์ลโกลด์อินดัสตรี้ ในจังหวัดฉะเชิงเทรา​ ในการแก้ปัญหาภัยแล้ง

อย่างไรก็ดีทั้ง2หน่วยองค์กรเอกชน​อุตสาหกรรม(MME)​ด้านบริหารจัดการ​ทรัพยากรนํ้า​ ได้สร้างนวัตกรรม​ทางเทคนิค​เทคโนโลยี​ด้านชลประทาน​ เช่น,ถังประกอบอุปกรณ์​กักเก็บ​นํ้า​ เช่น แบบถังไลเนอร์และสแตนเลส​ ซึ่งเป็นไปตามมาตราฐาน​ World​ Standard​ทั้งในอเมริกาแลยุโรป​รับรองและใช้เทคโนยีนวัตรกรรมในอุปกรณ์นี้(Usa.Awwa-Iso.Asdm)​ซึ่งต้องใช้บุคลากรทางเทคนิค​เทคโนโลยี​ออกแบบคิดค้น(DESIGN)​ในการควบคุมคุณภาพผลิต(QC)​อุปกรณ์​ที่ใช้ในด้านการชลประทาน

ทั้งนี้บริษัททั้ง2แห่งของไทยนี้​ ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐด้านการชลประทาน​  และได้ยกอย่างศึกษานำมาใช้ โดยน้อมนำมาใช้ฯทฤษฎี​ด้านนํ้า​ เช่น, ทฤษฎีบ่อพรวง​ กักเก็บนํ้าฝน​ แหล่งพักนํ้า​ ส่งนํ้ากักเก็บนํ้า​ สำรวจแหล่งนํ้าธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โครงการทฤษฎี​ฯของพระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว​ฯลฯ​ ในการบริหารและจัดการ​ทัพยากรนํ้า​ สิ่งแวดล้อม​และสังคม​ เพื่อนำมาใช้บริหารจัดการและบริการส่งเสริมอันเป็นประโยชน์​ต่อส่วนรวมใน​ ภาคอุตสาหกรรม​การลงทุน​ เศรษฐกิจ​ สังคม​ ธรรมชาติ​และสิ่งแวดล้อม​และประชาชนคนไทย​ ในการอุปโภคและบริโภค​ใช้ทรัพยากร​นํ้า​ ต้นทุนนวัตรกรรมเทคโนโลยี​บริหารจัดการการชลประทานด้านทรัพยา​กรนํ้าของคนไทย​ ประเทศไทย