เศรษฐกิจ
กลุ่ม ปตท. นำร่องศึกษา CCS Hub Model ต้นแบบเทคโนโลยีดักจับ-กักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ติดตามข่าวด่วน กระแสข่าวบน Facebook คลิกที่นี่
กลุ่ม ปตท. นำร่องศึกษา CCS Hub Model ต้นแบบเทคโนโลยีดักจับ-กักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
กลุ่ม ปตท. นำร่องศึกษา CCS Hub Model ต้นแบบเทคโนโลยีดักจับและกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ประเทศไทย มีแนวทางให้ดำเนินโครงการ CCS ในปี 2040 โดยจะมีส่วนช่วยในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้อย่างน้อย 40 ล้านตันต่อปี ภายในปี 2050 และ 60 ล้านตันต่อปีภายในปี 2065 ดังนั้น กลุ่ม ปตท. ได้ตระหนักถึงการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้เป็นศูนย์
กลุ่ม ปตท. ในฐานะองค์กรด้านพลังงานของประเทศ มุ่งมั่นยกระดับการพัฒนาประเทศให้มั่นคงอย่างยั่งยืน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ให้สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero) เพื่อร่วมบรรเทาวิกฤตด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กลุ่ม ปตท. จึงยกระดับการบริหารจัดการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ผ่านความร่วมมือทางด้านเทคโนโลยีภายใต้คณะกรรมการเทคโนโลยี กลุ่ม ปตท. (PTT Group Technology Committee: GTC) ในการบริหารจัดการเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกร่วมกัน โดยจะนำร่องศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี CCS ในรูปแบบ CCS Hub Model ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่สามารถกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากกระบวนการผลิตได้ในระดับหลายล้านตันต่อปี และนำไปกักเก็บในชั้นธรณีที่มีศักยภาพและเหมาะสมแบบปลอดภัยและถาวร (Permanent Geological Storage) โดยไม่มีการปล่อยกลับเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ ทั้งนี้ จะเริ่มศึกษาในพื้นที่ปฏิบัติการ กลุ่ม ปตท. จังหวัดระยองและชลบุรี
อย่างไรก็ตาม ความร่วมมือนี้นับเป็นต้นแบบสำคัญในการขยายผลสู่ระดับประเทศได้ในอนาคต เพื่อช่วยขับเคลื่อนองค์กรและประเทศไทยให้บรรลุเป้าหมาย Net Zero อย่างเป็นรูปธรรม ยกระดับการพัฒนาประเทศสู่ความยั่งยืนได้ต่อไป
What is Carbon Capture and Storage (CCS)?
Carbon Capture and Storage คือ เทคโนโลยีดักจับและกักเก็บก๊
- CO2 Capture: กระบวนการดักจับก๊าซคาร์
- Transportation: ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ถูกดักจับได้จะถูกปรับความดั
- Storage: ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จะถูกกักเก็บบนฝั่ง (Onshore) หรือนอกชายฝั่ง (Offshore) ในชั้นหินทางธรณีวิทยาไว้อย่
Safety of offshore CCS
1. ความลึก : ชั้นหินที่ใช้กักเก็บก๊าซคาร์
2. การปิดผนึก : ชั้นหินกักเก็บก๊าซคาร์
3. Reverse E&P : CCS เป็นกระบวนการย้อนกลั
4. กลไกการเปลี่ยนก๊าซคาร์
5. การติดตามตรวจสอบ : ติดตามตรวจสอบตลอดระยะเวลาดำเนิ
MMV Program (Monitoring, Measurement and Verification)
i.ตรวจวัดคุณสมบัติของก๊าซคาร์
ii. ออกแบบหลุม Injection และหลุม Monitoring
iii. ตรวจสอบและบำรุงรักษาสภาพหลุม
iv. ตรวจวัดความดัน ขณะอัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
V. ติดตามการกระจายตัวของก๊าซคาร์
Vi. ตรวจสอบผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม บริเวณพื้นที่กักเก็บก๊าซคาร์
ทำไม CCS จึงมีความสำคัญต่อโลกใบนี้
การดักจับและกักเก็บก๊าซคาร์
●The United Nations’ Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) รายงานถึงความสำคัญของ CCS ในการบรรลุเป้าหมายในการควบคุ
●The International Energy Agency (IEA) รายงานถึงบทบาทสำคัญของ CCS ในการจัดการปัญหาการปล่อยก๊
ข้อดีของเทคโนโลยี CCS
- สามารถช่วยลดการปล่อยก๊าซเรื
- ทำให้ GDP สูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้แค่ ภาษีคาร์บอน
- ลดผลกระทบ CBAM มากกว่า 600 ล้านบาท/ปี ลดความเสี่ยงจากมาตรการปรับคาร์
- ส่งเสริมการลงทุนคาร์บอนต่ำ วางรากฐานสำหรับการลงทุนคาร์
- สร้างงานเพิ่มขึ้นกว่า 10,000 ตำแหน่งส่งเสริมการจ้างงานได้ถึ
CCS Success Case ตัวอย่างความสำเร็จของโครงการ CCS
ปัจจุบัน มีโครงการ CCS ที่ดำเนินการอยู่ 41 แห่งทั่วโลก โดยเฉพาะในอเมริกา โดยขอยกตัวอย่างความสำเร็
●Northern Lights (Longship) Project
โครงการ CCS ขนาดใหญ่ครบวงจร และมีโมเดลธุรกิจแบบ Cross-Border ในสหภาพยุโรปแห่งแรกของโลก เป็นโรงงานอุตสาหกรรมต้นแบบ 2 แห่งแรก ที่ได้รับการสนับสนุนจากรั
●(Pilot Project) Tomakomai CCS Demonstration Project
โครงการสาธิตในการดำเนินการดั
ติดตามข่าวด่วน กระแสข่าวบน Facebook คลิกที่นี่